|
|
|
|
|
ประชากรในเขตตำบลพญาเย็น ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม แต่ก็มีบางส่วนที่ประกอบอาชีพปศุสัตว์ เลี้ยงโคนมโดยสามารถแยกได้ตามนี้ |

 |
เกษตรกรรม ทำนา ทำไร่ |
คิดเป็นร้อยละ 6.97 |

 |
รับราชการ / รัฐวิสาหกิจ |
คิดเป็นร้อยละ 2.43 |

 |
พนักงานบริษัท |
คิดเป็นร้อยละ 9.60 |

 |
รับจ้างทั่วไป / ค้าขาย / ธุรกิจส่วนตัว |
|
|
คิดเป็นร้อยละ 60.05 |

 |
อาชีพอื่นๆ |
คิดเป็นร้อยละ 20.95
|
|
|
|
|
|
 |
|

 |
เป็นเทือกเขา และที่ราบสูง ทางตอนใต้ของจังหวัดนครราชสีมา
มีความสูงจากระดับน้ำทะเลมากกว่า 250 เมตร โดยพื้นที่ระหว่างเทือกเขา ส่วนใหญ่เป็นลูกคลื่น ลอนลึก และลอนตื้นตอนล่างของหุบเขามีความลาดชัน ค่อนข้างมาก ทำให้มีการชะล้าง พังทลายของหน้าดินในบริเวณนี้ค่อนข้างสูง |
|
|
|
|
 |
|
สภาพภูมิอากาศของตำบลพญาเย็น จัดอยู่ในประเภททุ่งหญ้าเขตร้อน มีลมมรสุมหลักพัดผ่านคือ ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ทำให้อากาศหนาวเย็นและแห้งแล้ง กับลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ทำให้มีอากาศชุ่มชื้นและมีฝนตกชุก แบ่งเป็น 3 ฤดู ดังนี้ |

 |
ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือน พ.ค.-ต.ค. |

 |
ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือน ต.ค.-ก.พ. |

 |
ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือน ก.พ.-พ.ค. |
|
|
|
|
ขนบธรรมเนียม ประเพณี
และวัฒนธรรม |
|
|
 |
|
|
|
ประเพณีและงานประจำปี |

 |
ประเพณีวันขึ้นปีใหม่ |

 |
ประเพณีวันสงกรานต์ |

 |
ประเพณีวันเข้าพรรษา ออกพรรษา |

 |
งานประจำปีงานวันบวงสรวงพลับพลาพระนเรศวร |
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น |

 |
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ประชาชนในเขตองค์การบริการส่วนตำบลพญาเย็น ได้อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นได้แก่ เครื่องจักรสานที่ทำด้วยเชือกปอฟาง |

 |
ภาษาถิ่น ส่วนใหญ่ใช้ภาษาไทยถิ่นกลาง เนื่องจากเป็นตำบลที่ติดกับจังหวัดสระบุรี |
สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก |

 |
สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลพญาเย็น ได้แก่ น้ำองุ่น เครื่องจักรสานที่ทำจาก เชือกปอฟาง |
|
|
|
|
|
 |
|
การนับถือศาสนา |

 |
พุทธ |
คิดเป็นร้อยละ 99.93 |

 |
คริสต์ |
คิดเป็นร้อยละ 0.07 |
|
|
|
|
 |
|

 |
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล |
จำนวน |
1 |
แห่ง |

 |
อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100 |
|
|
|
|
|
|
|
 |
|

 |
ประชาชนในเขตตำบลพญาเย็น ได้รับการจ่ายกระแสไฟฟ้า จากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค อำเภอปากช่อง โดยมีไฟฟ้าใช้อย่างทั่วถึง |
|
|
|
|
|
|
 |
|

 |
โทรศัพท์ ในเขตพื้นที่ตำบลพญาเย็น มีโทรศัพท์คู่สายขององค์การโทรศัพท์
บริการประชาชนอยู่ในพื้นที่ 4 หมู่บ้าน และมีโทรศัพท์ทางไกลชนบท ซึ่งสามารถใช้บริการได้อย่างจำกัดจำนวน 4 แห่ง และประชาชนส่วนใหญ่จะใช้โทรศัพท์มือถือ (โทรศัพท์เคลื่อนที่) |

 |
ไปรษณีย์ ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลพญาเย็น ไม่มีที่ทำการไปรษณีย์
แต่ก็ใช้บริการไปรษณีย์ ของสำนักงานไปรษณีย์เขตกลางดง อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา |
|
|
|
|
 |
|

 |
ปัจจุบันองค์การบริการส่วนตำบลพญาเย็น ได้สนับสนุนการจัดทำระบบประปาหมู่
ที่บ้านครบทุกหมู่บ้าน แต่ยังไม่ทั่วถึงทุกครัวเรือน และระบบการจ่ายน้ำประปา ยังไม่ได้มาตรฐาน ทำให้ต้องมีการซ่อมบำรุงอยู่เป็นประจำ |
|
|
|
|
|
|
|
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 6 แห่ง |

 |
ศพด.หัวป้าง |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 |

 |
ศพด.หนองยาง-ผ่านศึก |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 |

 |
ศพด.วังเพิ่ม |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 |

 |
ศพด.ซับใต้ |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 6 |

 |
ศพด.หัวโกรก |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 7 |

 |
ศพด.พญาเย็น |
ตั้งอยู่หมู่ที่ 13 |
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนตำบล จำนวน 1 แห่ง |
|
(ศูนย์เรียนรู้ชุมชนตำบลพญาเย็น หมู่ที่ 7) |
|
|
|
|
|